คณิตศาสตร์ ลำดับและอนุกรม ลำดับเลขคณิต/เรขาคณิต อธิบายพร้อมยกตัวอย่าง

ลำดับและอนุกรมคณิตศาตร์ ลำดับ คือ เอาตัวเลขมาวางเรียงกัน เช่น 1,3,5,7,9 ลำดับเลขคณิต คือ ลำดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n โดยมีค่าคงที่เป็นผลต่างร่วม (d) a1, a2,…

คณิตศาสตร์ สรุปเรื่องเซต เข้าใจง่ายพร้อมตัวอย่าง

เซตที่เท่ากัน เซต A เท่ากับ เซต B ก็ต่อเมื่อ A และ B มีสมาชิกเหมือนกัน หมายความว่าสมาชิกทุกตัวของเซต A เป็นสมาชิกของเซต B และ…

คณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องเซต

เซต เซต คือ กลุ่มสิ่งต่างๆ และสามารถบอกได้ว่าอะไรเป็นสมาชิก อะไรไม่เป็นสมาชิก สัญลักษณ์ เช่น เซตของสระในภาษาอังกฤษ เขียนในรูปแบบของเซตได้ดังนี้  A = {a, e, i, o,…

ตรรกศาสตร์ ประพจน์และการเชื่อมประพจน์

ตรรกศาสตร์ ประพจน์และการเชื่อมประพจน์ ประพจน์คือ ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่บอกค่าความจริงได้ ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ( “T” OR “F”) การเชื่อมของประพจน์ การเชื่อมประพจน์ในคณิตศาสตร์ มีดังนี้ และ                     สัญลักษณ์ที่ใช้แทน   ∧ หรือ                    …

วิธีหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหรือที่เรียกอย่างหนึ่งว่ามัชฌิมเลขคณิต คือ การเอาผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนข้อมูล การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะมีอยู่ 2 วิธี ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่  ก็คือข้อมูลที่เรียงข้อมูลมาให้เลย ซึ่งสามารถคำนวณได้จากสูตรด้านล่างนี้ ตัวอย่าง ให้หาค่าเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ 12, 12, 10, 8, 22, 16,…

มัธยฐานหรือค่ากลางของข้อมูล

มัธยฐานคือ ค่า ค่ากลางของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง ที่มีกรเรียงลำดับจากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อย อย่างเช่นเรามีข้อมูลอยู่กลุ่มหนึ่งและนำข้อมูลนั้นมีจัดเรียงจากค่ามากไปหาค่าน้อย หรือจากน้อยไปมากตัวเลขที่อยู่ตรงกลางเราเรียกว่า มัธยฐาน ซึ่งหามัธยฐานจะมี 2 ลักษณะ ก็คือการหาค่ากลางของจำนวนข้อมูลที่เป็นคี่ และและการหาค่ากลางของจำนวนข้อมูลที่เป็นคู่ จำนวนข้อมูลที่เป็นคี่ มีข้อมูลชุดหนึ่งคือ 18 12…

คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องร้อยละ

เป็นเรื่องที่สามารถเจอได้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งเราจะพบเห็นกันอยู่บ่อยๆ อย่างเช่น การลดราคาสินค้าที่เขียนป้ายติดไว้ว่า sale 70% หรือว่า sale 50% นั่นเอง ซึ่งหมายคำว่าเปอร์เซ็นต์หรือร้อยละคือการเทียบกับ 100 การที่ป้ายเขียนว่า ว่า sale 70%…

ความน่าจะเป็นเบื้องต้น

การทดลองสุ่ม การทดลองสุ่มเป็นการทดลองที่ไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าการทดลองครั้งนั้นจะได้ผลลัพธ์เป็นอย่างไร เช่น การโยนลูกเต๋า หรือว่า การโยนเหรียญ โดยการทดลองเหล่านี้เป็นการกระทำที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ เมื่อเราโยนเหรียญหนึ่งเหรียญจะมีผลลัพธ์อยู่สองแบบที่เป็นไปได้คือ หัวหรือก้อย ผลของการทดลองที่ออกมาแตกต่างกันนั้นคือความหมายของ “ความไม่แน่นอน แซมเปิลสเปซ (Sample Space) แซมเปิลสเปซ คือ…

เรื่องค่าประมาณ /ค่าประมาณใกล้เคียง คณิตศาสตร์

ในชีวิตประจำวันของคนเราเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่มีการแข่งขัน หรือ ต้องมีการตัดสินใจอย่างรวดเร็ว เราต้องใช้ค่าประมาณมาช่วยในการคำนวณอย่างคร่าวๆ การประมาณ คือ การหาค่าซึ่งไม่ใช่ค่าที่แท้จริง แต่มีความละเอียดเพียงพอกับการนำไปใช้ การประมาณค่า คือ การคำนวณที่ต้องการคำตอบตัวเลือกอย่างรวดเร็ว เช่น ประมาณ 22.8 ก็จะเป็น 23…

คณิตศาสตร์ม.1 การบวก/ลบ/คูณและหารเศษส่วน

การบวกและการลบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนเท่ากัน หากจำนวนส่วนเท่ากันให้นำตัวเศษของจำนวนนั้นๆ มาบวกหรือลบกันได้เลย และให้คงตัวส่วนไว้เหมือนเดิม ตัวอย่าง การบวกและการลบเศษส่วนเมื่อตัวส่วนไม่เท่ากัน ในกรณีนี้เราต้องทำส่วนให้เท่ากันก่อน ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้ การนำจำนวนที่ไม่เท่ากับศูนย์มาคูณทั้งเศษและส่วนเพื่อให้ตัวส่วนเท่ากัน เมื่อได้ตัวส่วนเท่ากันแล้วค่อยตัวเศษมาบวกหรือลบกัน การหา ค.ร.น. ของตัวส่วน เมื่อได้เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันค่อยนำตัวเศษมาบวกหรือลบกัน เมื่อเรานำมาบวกกันแล้วได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นจำนวนเศษส่วนเกิน เราก็สามารถทำให้อยู่ในรูปของจำนวนคละได้…

คณิตศาสตร์ม.1 เศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วน

เศษส่วนจะเขียนอยู่ในรูป โดยที่ a เป็นจำนวนเต็ม และ b เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เท่ากับศูนย์ นิยาม ตัวเศษ หมายถึง จำนวนส่วนแบ่งที่ต้องการ ส่วน หมายถึง จำนวนส่วนแบ่งทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เท่า…

คณิตศาสตร์ม.1 การคูณทศนิยมและการหารทศนิยม

การคูณทศนิยม การคูณทศนิยมเราจะใช้หลักการเดียวกันกับการคูณจำนวนเต็ม แต่การคูณตัวเลขที่เป็นทศนิยมเมื่อเราคูณกันเสร็จแล้ว จะเอาตำแหน่งทศนิยมของทั้งสองจำนวนมาบวกกัน หลักการคูณทศนิยม การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นบวก จะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นบวก และมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น การคูณทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นลบ จะได้คำตอบทศนิยมที่เป็นบวกและมีค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น     การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นลบ หรือการคูณทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นบวก จะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นลบและมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวน นอกจากนี้การคูณทศนิยมยังมีสมบัติการคูณเช่นเดียวกับสมบัติการคูณจำนวนเต็มนั่นก็คือ สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการคูณด้วยศูนย์…

คณิตศาสตร์ม.1 การบวกและการลบทศนิยม

การบวกทศนิยม การบวกทศนิยมก็จะมีหลักการเหมือนกันกับการบวกจำนวนนับใดๆ คือการนำเลขโดดที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกันจัดให้ตรงกันแล้วนำมาบวกกัน เราจะวางตำแหน่งหรือหลักของตัวเลขให้ตรงกัน โดยเราจะเริ่มบวกมาจากทางขวามือก่อนแล้วไล่ไปทางซ้ายมือเหมือนการบวกจำนวนเต็มปกติ หลักการเพิ่มเติม การนำเลขทศนิยมที่มีค่าเป็นบวกมาบวกกัน คือ การนำทั้งสองค่าของทศยมที่เป็นบวกมาบวกกันปกติและผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นบวก การนำเลขทศนิยมที่มีค่าเป็นลบมาบวกกัน คือการนำค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนมาบวกกันและผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นลบ การนำทศนิยมที่เป็นบวกและทศนิยมที่เป็นลบมาบวกกัน คือ การนำค่าสัมบูรณ์ของจำนวนที่มากกว่าลบกับค่าสัมบูรณ์ของจำนวนที่น้อยกว่าและผลลัพธ์จะได้ตามจำนวนค่าสัมบูรณ์ที่มากว่า ถ้าค่าสัมบูรณ์ที่เป็นลบมากว่าผลลัพธ์ก็จะเป็นลบ ถ้าค่าสัมบูรณ์ที่เป็นบวกมากว่าผลลัพธ์ก็จะเป็นบวก…

คณิตศาสตร์ ม.1 พื้นฐานทางเรขาคณิต

จุด เส้นตรง ส่วนของเส้นตรง รังสี และมุม จุด เส้นตรง ระนาบ จุด คือ ใช้เพื่อแสดงตำแหน่ง เราใช้ .  เป็นสัญลักษณ์แทนจุด และมีการระบุด้วยการใส่ตัวอักษรกำกับไว้ด้วย เช่น…

คณิตศาสตร์ม.1สมบัติของจำนวนเต็ม การสลับที่ การเปลี่ยนหมู่ การแจกแจง

สมบัติการบวกและการคูณของจำนวนเต็มเมื่อ a, b และ c แทนจำนวนเต็มใด สมบัติการสลับที่ สมบัติการสลับที่ของการบวกคือ a + b = b + a เช่น…

คณิตศาสตร์ ม.1 การบวกจำนวนเต็มคนละประเภท การบวกจำนวนเต็มโดยใช้ค่าสัมบูรณ์ วิธีบวกจำนวนเต็มบวก บวกกับจำนวนเต็มลบ

การหาผลบวกของจำนวนเต็มประเภทเดียวกันโดยใช้ค่าสัมบูรณ์ โดยทั่วไปเราจะแบ่งจำนวนเต็มออกเป็น 3 ประเภท ซึ่งได้แก่ จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ และจำนวนเต็มศูนย์ โดยการบวกจำนวนเต็มที่เป็นประเภทเดียวกันจะได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มประเภทเดิม คือ ผลบวกของจำนวนเต็มบวกผลลัพธ์จะเป็นบวก ผลบวกของจำนวนเต็มลบผลลัพธ์จะเป็นลบ ผลบวกของจำนวนเต็มศูนย์ผลลัพธ์ก็จะเป็นศูนย์ ตัวอย่างการหาผลลัพธ์ การบวกจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มบวกให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกัน และผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็มบวก…

คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องเลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง คือ การคูณตัวเลขนั้น ๆ ตามจำนวนของเลขชี้กำลัง ถ้า a เป็นจำนวนจริงใด ๆ ที่ไม่ใช่ 0 และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก  หมายความว่า…

คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่อง ห.ร.ม และ ค.ร.น การแยกตัวประกอบ หาจำนวนเฉพาะ

ก่อนที่เราจะไปรู้จักกับ ห.ร.ม และ ค.ร.น อยากจะแนะนำให้รู้จักกับตัวประกอบ จำนวนเฉพาะ และตัวประกอบเฉพาะก่อนเพื่อให้เกิดความเข้าใจก่อนที่จะไปดูวิธีหา ห.ร.ม และ ค.ร.น ตัวประกอบ คือ จำนวนที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เช่น จำนวนที่หาร 24…